-
เหล็กฉากเจาะรู ทำชั้นวางของ ชนิดด้านเท่า
175.00฿ – 255.00฿ เลือกรูปแบบ This product has multiple variants. The options may be chosen on the product page -
เหล็กฉากเจาะรู ชนิดด้านไม่เท่า
260.00฿ – 325.00฿ เลือกรูปแบบ This product has multiple variants. The options may be chosen on the product page -
อุปกรณ์ในการประกอบชั้นเหล็กฉากเจาะรู ชนิดด้านเท่า
3.00฿ – 85.00฿ เลือกรูปแบบ This product has multiple variants. The options may be chosen on the product page -
อุปกรณ์ในการประกอบชั้นเหล็กฉากเจาะรู ชนิดด้านไม่เท่า
18.00฿ – 90.00฿ เลือกรูปแบบ This product has multiple variants. The options may be chosen on the product page -
ไม้อัดปูพื้นชั้น 10 มิล เอ ไส้เต็ม
750.00฿ เลือกรูปแบบ This product has multiple variants. The options may be chosen on the product page -
ไม้อัดฟิลม์ดำ 15 มิล สั่งตัด
780.00฿ เลือกรูปแบบ This product has multiple variants. The options may be chosen on the product page -
ไม้อัด HMR เคลือบเมลามีน สีขาว 2 ด้าน
985.00฿ เลือกรูปแบบ This product has multiple variants. The options may be chosen on the product page
จำหน่ายเหล็กฉากเจาะรู สำหรับทำชั้นวางของ จัดส่งด่วนได้ทุกอำเภอในจังหวัดปทุมธานี ไม่ติดเวลา สั่งตัดได้ (ขั้นต่ำ20เส้น)
- อ่านวิธีการสั่งตัดได้ที่นี่ (วิธีการสั่งตัดเหล็กฉากเจาะรู)
- อ่านวิธีการจัดส่งได้ที่นี่ (วิธีการจัดส่ง)
- อ่านราคาเหล็กฉากรูได้ที่นี่ (ราคาเหล็กฉากเจาะรู)
จังหวัดปทุมธานี มีความเป็นถิ่นฐานบ้านเมืองมาแล้วไม่น้อยกว่า 300 ปี นับตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา คือ เมื่อ พ.ศ. 2202 มังนันทมิตรได้กวาดต้อนครอบครัวมอญ เมืองเมาะตะมะ อพยพหนีภัยจากศึกพม่า เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ซึ่งสมเด็จพระนายรายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ครอบครัวมอญเหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคก ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุงธนบุรี ชาวมอญได้อพยพหนีพม่าเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นครั้งที่ 2 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือนที่บ้านสามโคกอีก และในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก็ได้มีการอพยพชาวมอญครั้งใหญ่จากเมืองเมาะตะมะเข้าสู่ประเทศไทยเรียกว่า “มอญใหญ่” พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคกอีกเช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็ก บ้านสามโคกจึงกลายเป็น เมืองสามโคก ในเวลาต่อมา
ต่อมาเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2358 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองสามโคก เป็น เมืองประทุมธานี และเมื่อ พ.ศ. 2461 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้คำว่า “จังหวัด” แทน “เมือง” และให้เปลี่ยนการสะกดชื่อใหม่จาก “ประทุมธานี” เป็น “ปทุมธานี” กลายเป็น จังหวัดปทุมธานี ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2475 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ยุบจังหวัดธัญบุรีมาขึ้นกับจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีจึงได้แบ่งการปกครองเป็น 7 อำเภอดังเช่นปัจจุบัน ตลาดขายส่งที่สำคัญในจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดพูนทรัพย์ ตลาดรังสิต นอกจากนี้ ยังมีนิคมอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อำเภอคลองหลวง, สวนอุตสาหกรรมบางกะดี อำเภอเมืองปทุมธานี, และเทคโนธานี อำเภอคลองหลวง (ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ตั้งของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย)
แบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 7 อำเภอได้แก่
- อำเภอเมืองปทุมธานี
- คลองหลวง
- ธัญบุรี
- หนองเสือ
- ลาดหลุมแก้ว
- ลำลูกกา
- สามโคก